Get Adobe Flash player

ยุทธศาสตร์ของโรงเรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและปลูกฝังนักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม

หลักสูตรสถานศึกษาและอัตลักษณ์ของโรงเรียน

1.1 ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียน

1.2 ส่งเสริมและปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีงาม และค่านิยมความเป็นไทย

1.3 ส่งเสริมทักษะการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพและตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1.4 ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีทักษะในการทำงานอย่างเป็นระบบตามระบอบประชาธิปไตย

1.5 ปลูกฝังนักเรียนให้มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนานักเรียนด้านวิชาการเต็มศักยภาพสู่ความเป็นสากล

2.1 มีแผนและกระบวนการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับแผนการจัดการศึกษาของชาติ

2.2 ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรียน

2.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี และการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร

2.4 ส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถด้านวิชาการ ด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ

3.1 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ

 ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และใช้โรงเรียนเป็นฐาน

4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของฝ่ายต่าง ๆ

4.2 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศโรงเรียน

4.3 เพิ่มประสิทธิภาพระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปรับปรุงและพัฒนาทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ

5.1 เสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้และมีบรรยากาศ ความเป็นโรงเรียนคาทอลิก

5.2 จัดสรรวัสดุ อุปกรณ์และสื่อเพื่อการเรียนการสอนอย่างเพียงพอและพร้อมใช้

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมโรงเรียนเป็นศูนย์ชุมชนแห่งการเรียนรู้

6.1 ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน

มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย

ตัวชี้วัดความสำเร็จ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย จำนวน 11 มาตรฐาน 51 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มี 4 มาตรฐาน 17 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 1       เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1        มีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2        มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3        มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพตน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4        หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด

มาตรฐานที่ 2       เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1        ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2        มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3        ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4        ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ

มาตรฐานที่ 3       เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1        มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2        มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน

ตัวบ่งชี้ที่ 3.3        เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

ตัวบ่งชี้ที่ 3.4        ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ

มาตรฐานที่ 4       เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1        สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2        มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3        มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 4.4        มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

ตัวบ่งชี้ที่ 4.5        มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มี 4 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1        ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2        ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย และสามารถจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3        ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4        ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก

ตัวบ่งชี้ที่ 5.5        ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผล พัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง

ตัวบ่งชี้ที่ 5.6        ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับ การจัด ประสบการณ์

ตัวบ่งชี้ที่ 5.7        ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.8        ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง

ตัวบ่งชี้ที่ 5.9        ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 5.10      ครูจัดทำสารนิทัศน์และนำมาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก

มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1        ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2        ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาเด็กปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3        ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือ การวิจัยเป็นฐาน คิด ทั้งด้านวิชาการและการจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.4        ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา

                ตัวบ่งชี้ที่ 6.5        ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.6        ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็ม ศักยภาพและเต็มเวลา

                ตัวบ่งชี้ที่ 6.7        เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชน พึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1        มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2        มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3        จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4        สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่น

ตัวบ่งชี้ที่ 7.5        จัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน

มาตรฐานที่ 8  สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง

ตัวบ่งชี้ที่ 8.1        กำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 8.2        จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 8.3        จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ และใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 8.4        ติดตามตรวจสอบ และประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 8.5        นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนา  คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ตัวบ่งชี้ที่ 8.6        จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานชี้ที่ 9 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1        เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2        มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับ ครอบครัว ชุมชน  และองค์กรที่เกี่ยวข้อง

มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 10  การพัฒนาของสถานศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์  และจุดเน้นของการศึกษา  ปฐมวัย

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1      จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นการจัด การศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 10.2      ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย           

มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานที่ 11   การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางปฏิรูปการศึกษาเพื่อยกระดับ  คุณภาพให้สูงขึ้น

ตัวบ่งชี้ที่ 11.1      จัดโครงการ กิจกรรม ส่งเสริมสนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัด การศึกษา ปฐมวัย

                ตัวบ่งชี้ที่ 11.2      ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 15 มาตรฐาน 65 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มี 6 มาตรฐาน 26 ตัวบ่งชี้

­มาตรฐานที่ 1       ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1        มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกาย สม่ำเสมอ

ตัวบ่งชี้ที่ 1.2        มีน้ำหนัก  ส่วนสูง  และสมรรถภาพทางกายและตามเกณฑ์มาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.3        ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสียงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ

ตัวบ่งชี้ที่ 1.4        เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ  กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม

ตัวบ่งชี้ที่ 1.5        มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี  และให้เกียรติผู้อื่น

ตัวบ่งชี้ที่ 1.6        สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฎศิลป์ กีฬา/ นันทการ ตาม จินตนาการ

มาตรฐานที่ 2       ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 

ตัวบ่งชี้ที่ 2.1        มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ 2.2        เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ

ตัวบ่งชี้ที่ 2.3        ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง

ตัวบ่งชี้ที่ 2.4        ตระหนัก รู้คุณค่าร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

มาตรฐานที่ 3       ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง มี

ตัวบ่งชี้ที่ 3.1        มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้  และสื่อต่าง ๆ รอบตัว

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2        มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม

ตัวบ่งชี้ที่ 3.3        เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน

ตัวบ่งชี้ที่ 3.4        ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน

มาตรฐานที่  4  ผู้เรียนมีความ สามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ  แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1        สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2        นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3        กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ

ตัวบ่งชี้ที่ 4.4        มีความคิดริเริ่ม แลสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

มาตรฐานที่  5  ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร

                ตัวบ่งชี้ที่ 5.1        ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2        ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3        ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์  และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4        ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์

มาตรฐานที่  6   ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วม กับผู้อื่นได้ และมีเจตคติ ที่ดีต่ออาชีพสุจริต

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1        วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ที่ 6.2        ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 6.3        ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

ตัวบ่งชี้ที่ 6.4        มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ

                มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มี 6 มาตรฐาน 33 ตัวบ่งชี้

                มาตรฐานที่ 7       ครูปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล            

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1        ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการสมรรถนะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2        ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 7.3        ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา

ตัวบ่งชี้ที่ 7.4        ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้

ตัวบ่งชี้ที่ 7.5        ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย

ตัวบ่งชี้ที่ 7.6        ครูให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพชีวิตด้วยความเสมอภาค

ตัวบ่งชี้ที่ 7.7        ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน

ตัวบ่งชี้ที่ 7.8        ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  และเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 7.9        ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ

                มาตรฐานที่ 8       ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 

                ตัวบ่งชี้ที่ 8.1        ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นำ และความคิดริเริ่มที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 8.2        ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลผลการประเมินหรือผลการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้านวิชาการและการจัดการ

ตัวบ่งชี้ที่ 8.3        ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน

แผนปฎิบัติการ

ตัวบ่งชี้ที่ 8.4        ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้พร้อมรับการกระจายอำนาจ

ตัวบ่งชี้ที่ 8.5        ผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารการจัดการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 8.6        ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการ และเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา

มาตรฐานที่ 9       คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมี  ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1        คณะกรรมการสถานศึกษารู้และปฎิบัติหน้าที่ตามระเบียบกำหนด

ตัวบ่งชี้ที่ 9.2        คณะกรรมการสถานศึกษากำกับติดตาม ดูแล  และขับเคลื่อนการดำเนินงานของสถานศึกษาให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย

ตัวบ่งชี้ที่ 9.3        ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา

มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ  ผู้เรียนอย่างรอบด้าน

ตัวบ่งชี้ที่ 10.1      หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสม และสอดคล้องกับท้องถิ่น

ตัวบ่งชี้ที่ 10.2      จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ

ตัวบ่งชี้ที่ 10.3      จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ  ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 10.4      สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง

ตัวบ่งชี้ที่ 10.5      นิเทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบ และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ

ตัวบ่งชี้ที่ 10.6      จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมถึงผู้เรียนทุกคน

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ  มี 3 ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้ที่ 11.1      ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารเรียนมั่นคง สะอาดและปลอดภัย มีสิ่งอำนวยความสะดวก พอเพียง อยู่ในสภาพใช้การได้ดี สภาพแวดล้อมร่มรื่น และมีแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 11.2      จัดโครงการ กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 11.3      จัดห้องสมุดที่ให้บริหารสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองและหรือเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

มาตรฐานที่  12  สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถาน ศึกษาตามที่กำหนดในกฎกระทรวง        

ตัวบ่งชี้ที่ 12.1      กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 12.2      จัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 12.3      จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา

                ตัวบ่งชี้ที่ 12.4      ติดตามตรวจสอบ  ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 12.5      นำผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง

ตัวบ่งชี้ที่ 12.6      จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

                มาตรฐานด้านสังคมแห่งการเรียนรู้ มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

 มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้   

ตัวบ่งชี้ที่ 13.1      มีการสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ภายในสถานศึกษาและใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา  เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนและบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง

ตัวบ่งชี้ที่ 13.2      มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์การที่เกี่ยวข้อง

                มาตรฐานด้านเอกลักษณ์ของสถานศึกษา มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

 มาตรฐานที่ 14  การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้น ที่ กำหนดขึ้น

ตัวบ่งชี้ที่ 14.1      จัดโครงการ  กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นของสถานศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 14.2      ผลการดำเนินงานส่งเสริมให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย วิสัยทัศน์ ปรัชญาและจุดเน้นของสถานศึกษา

                มาตรฐานด้านการส่งเสริม มี 1 มาตรฐาน 2 ตัวบ่งชี้

 มาตรฐานที่ 15  การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ กำหนดขึ้น

ตัวบ่งชี้ที่ 15.1      จัดโครงการ กิจกรรมพิเศษเพื่อตอบสนองนโยบาย จุดเน้น ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 15.2      ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย

ปฏิทินโรงเรียน

กรกฎาคม 2566 /JULY 2023                    

5 ก.ค.66 - ระดับมัธยมศึกษา ไปทัศนศึกษามิวเซียมสยาม

12 ก.ค.66 - ประถมศึกษาปีที่ 3-4

ไปทัศนศึกษาโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์

14 ก.ค.66 - ประถมศึกษาปีที่ 5-6

ไปทัศนศึกษาโครงการอัมพวา ชัยพัฒนานุรักษ์ 

18 ก.ค.66 - อนุบาล 2

ไปทัศนศึกษาศูนย์วิจัยข้าว ราชบุรี
24 ก.ค.66 -กิจกรรมกล้าคุณธรรม

27 ก.ค.66 -กิจกรรมวันเข้าพรรษา
- กิจกรรมถวายพระพรสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
- กิจกรรมซ้อมอพยพแผ่นดินไหว,สึนามิ
28 ก.ค.66 -หยุดวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10
31ก.ค.66 - 2 ส.ค.66 -วันหยุดพิเศษ และหยุดวันอาสาฬหบูชา เข้าพรรษา

 

สิงหาคม 2566 /AUGUST 2023
5 ส.ค.66 - พิธีรับตำแหน่งประมุขสังฆมณฑลราชบุีรี บิชอป ซิลวีโอ สิริพงษ์  จรัสศรี
7-10 ส.ค.66 -กิจกรรมสัปดาห์อาเซียน
11 ส.ค.66 -กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ
14 ส.ค.66 -หยุดชดเชยวันแม่แห่งชาติ
-ตัวแทนครูเข้าร่วมวางพานพุ่ม
15 ส.ค.66 -เริ่มซ้อมกีฬาสี
17 - 18 ส.ค.66 -ตรวจฟันอนุบาล
21 ส.ค.66 -อนุบาล 3 ไปทัศนศึกษา
21-25 ส.ค.66 -สัปดาห์ STEM
28-30 ส.ค.66 -สัปดาห์วิทยาศาสตร์ ระดับอนุบาล
30-31 ส.ค.66 -กิจกรรมกล้าคุณธรรม (อบรมคุณธรรม จริยธรรม)ป.1-6

calendar

WEB LINK

ม.6 สอบติด
qa
ASEAN
หนังสือน่าอ่าน
firstbrain
คลังข้อสอบ
สาระน่ารู้

โรงเรียนดรุณาราชบุรี

สสวท

SFbBox by website

สถิติการเยี่ยมชม

05140027
วันนี้
เมื่อวาน
สัปดาห์นี้
เดือนนี้
เดือนที่แล้ว
ทั้งหมด
452
946
5460
40552
41300
5140027
Your IP: 18.116.49.243
Server Time: 2024-11-21 10:20:10